History of the New Year.
The meaning of New Year's Day.
The meaning of New Year's Day
Issue Royal Tong dictionary Graduate network location. The meaning of the word
"year" in the following year, meaning a circle around the Earth once
the Sun around 365 days for 12 month calendar
Background.
New Year's Day with history,
which vary according to age and fitness. Since the time when people first
started Brbioeenei invention of the calendar. Through each stage of the moon as
a basis for the count after 12 months was defined as a year to ensure a fit
between the calendar year with the seasonal year. Has added months to 1 month
to 13 months in all four years.
Later, Egyptians, Greeks and
people c wikis. Calendar Brbioeenei led people to modify Again several times to
meet the season even more until the reign of King Juliet Caesar brought the
idea of an astronomer Egyptian name Yo Sin Ye Nis improve the year with 365
days every four years to fill. 28-day month with an additional 1 day to 29 days
in February is called a leap.
The increase in February has 29
days in every four days in the calendar year, but still not match the season
Neu. Time is longer than a calendar year, seasonal Cause before the season
arrives in the calendar.
In calendar year on March 21
every year is a time during the day and night are equal. Is the day that the
sun is directly east. And a secret down at the west precisely Today the world
is a 12-hour period was the same night called on daytime Equality March
(Equinox in March).
But in the Year 2125 date back to
the Equinox in March occurred on March 11 instead of March 21, so Pope Gregory,
13, is adjusted to deduct 10 days from the day calendar. And the day after the
date of October 4, 2125 instead of on October 5, then changed to October 15
instead (in 2125 this year), this new calendar is called. Erini as Gregorian
calendar. Then adjusted promulgated on January 1 is the start date of the year
onwards.
Background. Thai New Year's Day.
In the past, the traditional Thai
New Year Day has been changed four times: first day of the waning fall at a
lunar month, Ai is a New Year's Day. Meet in January to the No. 2 New Year's
Day falls on the fifth lunar month as a motto Brahmin Which corresponds to April.
Date has been set up in 2 years
this fall at a lunar core. Later equate solar instead. The set April 1 as New
Year's Day from the year 2432 onwards, however, most people especially the
rural areas is still taken as Songkran. New Year's Day address. Later, when a
change of government is democracy. Government that New Year's Day on April 1
will be carnival Aamnsoog much. Deserve to be revived. Has announced a festive
New Year's Day on 1 April 2477 in Bangkok for the first time.
Event New Year's Day began on April 1 to spread to other
provinces in coming years, and in the year 2479 there has been a new year
around the fairgrounds all provinces. New Year's Day on April 1 at that time
the government called. Ernuษ Songkran Day.
Later, with the change of New
Year's Day again. The Cabinet appointed by the Board of Directors. The
discourse of the Royal Fine. As Chairman. The meeting agreed unanimously to
change the New Year on January 1 by a given date is January 1, 2484 New Year's
Day onwards.
Why the government has changed the New Year's Day from April
1 as the date is January 1.
1. Not inconsistent with Buddhism in the Date and Celebrate
New Year with philanthropy
2. It brings out how a Brahmin came across the Buddhist
doctrine.
3. The international level to use in countries around the
world.
4. Is a refreshing culture, ideology and customs of the Thai
nation.
Activities, most Thais will abide in the New Year's Day
were.
1. To put merit. It may put at home. Or go to temples or
places of the official invitation to merit.
2. Respectfully wishes from adults. And greeting friends.
The gift. Delivering a bouquet of flowers. Or send a greeting card.
3. Fairgrounds. Catering among friends. Relatives or by
other agencies.
New Year's Day is a great opportunity to allow us to review
the life of the past. To a bug that happened in the past to better
Events on New Year's Day.
January 1 of each year will be
put merit and dedication of those who passed away a charity sermon preached
Fish released birds greeting each other. May send cards or greeting cards.
Kua's big respect adults to get together. And bathing the Buddha is decorated
with flags and prepare to clean house. And shelter.
Music New Year's Day. (Music New Year. Music Majesty the
King.)
Music: His Majesty the King. King Bhumibol Adulyadej.
Lyric: Her Highness Princess God. Royal Chakkapan Pensiri.
Happy New Year bring. We give you all pleasant.
Auspicious well rejoice appreciated. Other popular happy
smiling.
I pray for blessings from heaven. You enjoy those
discriminatory Si.
Please give blessings by sparing The Thais are a Chokchai.
Discriminatory to those you happy. Every day and every night
and appreciate the Somruthai.
To thrive in the New Year. Thai Bands Be Happy.
Be happy all year round. Forever from now.
The end of Duukhtsuk Kasem rejoice. Happy New Year Edoy.
About Music New Year.
Music Majesty Music New Year as
No. 13 HM King His Majesty in December 2494 when His Majesty Niwat Capital and
sat at Chitralada Villa. Dusit Palace. His intention to the nation New Year.
Those subjects with Thai music His Majesty is the song "New Year" and
he graciously. Want God to her family. Royal Chakkapan Pensiri. Writing a
petition to bless the new year. Then the royal band 2 band is a band of
Chulalongkorn University, played out at the Chulalongkorn University. And bands
Suntharaporn Waraporn be performed at the Sala Thai New Year celebration
Tuesday, January 1, 2495.
ประวัติความเป็นมา วันปีใหม่
ความหมายของ วันขึ้นปีใหม่
ความหมายของวันขึ้นปีใหม่ ตามพจนานุกรม
ฉบับราชตบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคำว่า " ปี" ไว้ดังนี้ ปี หมายถึง
เวลา ชั่วโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ครั้งหนึ่งราว 365
วัน : เวลา 12 เดือนตามสุริยคติ
ประวัติความเป็นมา
วันปีใหม่
มีประวัติความเป็นมาซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยและความเหมาะสม
ตั้งแต่ในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาวบาบิโลเนียเริ่มคิดค้นการใช้ปฏิทิน โดยอาศัยระยะต่าง
ๆ ของดวงจันทร์เป็นหลักในการนับ เมื่อครบ 12
เดือนก็กำหนดว่าเป็น 1 ปี
และเพื่อให้เกิดความพอดีระหว่างการนับปีตามปฏิทินกับปีตามฤดูกาล
จึงได้เพิ่มเดือนเข้าไปอีก 1 เดือน เป็น 13
เดือนในทุก 4 ปี
ต่อมาชาวอียิปต์ กรีก และชาวเซมิติค
ได้นำปฏิทินของชาวบาบิโลเนียมาดัดแปลงแก้ไข
อีกหลายคราวเพื่อให้ตรงกับฤดูกาลมากยิ่งขึ้นจนถึงสมัยของกษัตริย์จูเลียต ซีซาร์
ได้นำความคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อ โยซิเยนิส มาปรับปรุง ให้ปีหนึ่งมี 365
วัน ในทุก ๆ 4 ปี ให้เติมเดือนที่มี 28
วัน เพิ่มขึ้นอีก 1 วัน เป็น 29
วัน คือเดือนกุมภาพันธ์ เรียกว่า อธิกสุรทิน
เมื่อเพิ่มในเดือนกุมภาพันธ์มี 29
วันในทุก ๆ 4 ปี แต่วันในปฏิทินก็ยังไม่ค่อยตรงกับฤดูกาลนัก
คือเวลาในปฏิทินยาวกว่าปีตามฤดูกาล เป็นเหตุให้ฤดูกาลมาถึงก่อนวันในปฏิทิน
และในวันที่ 21
มีนาคมตามปีปฏิทินของทุก ๆ ปี จะเป็นช่วงที่มีเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน
คือเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะขึ้นตรงทิศตะวันออก และลับลงตรงทิศตะวันตกเป๋ง
วันนี้ทั่วโลกจึงมีช่วงเวลาเท่ากับ 12 ชั่วโมง เท่ากัน เรียกว่า
วันทิวาราตรีเสมอภาคมีนาคม (Equinox in March)
แต่ในปี พ.ศ. 2125
วัน Equinox in March กลับไปเกิดขึ้นในวันที่ 11
มีนาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 21 มีนาคม ดังนั้น
พระสันตะปาปาเกรกอรี่ที่ 13 จึงทำการปรับปรุงแก้ไขหักวันออกไป 10
วันจากปีปฏิทิน และให้วันหลังจากวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125
แทนที่จะเป็นวันที่ 5 ตุลาคม ก็ให้เปลี่ยนเป็นวันที่ 15
ตุลาคมแทน (เฉพาะในปี 2125 นี้) ปฏิทินแบบใหม่นี้จึงเรียกว่า
ปฏิทินเกรกอเรี่ยน จากนั้นได้ปรับปรุงประกาศใช้วันที่ 1
มกราคม เป็นวันเริ่มต้นของปีเป็นต้นมา
ความเป็นมาของ วันขึ้นปีใหม่ไทย
ในอดีต
วันขึ้นปีใหม่ของไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้ว 4
ครั้งคือ ครั้งแรกถือเอาวันแรม 1 ค่ำ เดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่ซึ่ง
ตรงกับเดือนมกราคม ครั้งที่ 2 กำหนดให้วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันขึ้น 1
ค่ำ เดือน 5 ตามคติพราหมณ์ ซึ่งตรงกับเดือนเมษายน
การกำหนดวันขึ้นปีใหม่ใน 2
ครั้งนี้ ถือเอาทางจันทรคติเป็นหลัก ต่อมาได้ถือเอาทางสุริยคติแทน
โดยกำหนดให้วันที่ 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ.2432
เป็นต้นมา อย่างไรก็ตาม
ประชาชนส่วนใหญ่โดยเฉพาะตามชนบทยังคงยึดถือเอาวันสงกรานต์เป็น วันขึ้นปีใหม่อยู่
ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ทางราชการเห็นว่าวันขึ้นปีใหม่วันที่
1 เมษายน ไม่สู้จะมีการรื่นเริงอะไรมากนัก
สมควรที่จะฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ จึงได้ประกาศให้มีงานรื่นเริงวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1
เมษายน 2477 ขึ้นใน กรุงเทพฯเป็นครั้งแรก
การจัดงานวันขึ้นปีใหม่ที่ได้เริ่มเมื่อวันที่
1 เมษายน ได้แพร่หลายออกไปต่างจังหวัดในปีต่อๆมา
และในปี พ.ศ.2479 ก็ได้มีการ
จัดงานรื่นเริงปีใหม่ทั่วทุกจังหวัด วันขึ้นปีใหม่วันที่ 1
เมษายน ในสมัยนั้นทางราชการเรียกว่า วันตรุษสงกรานต์
ต่อมาได้มีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่อีกครั้งหนึ่ง
โดยคณะรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้น ซึ่งมีหลวงวิจิตรวาทการ
เป็นประธานกรรมการ ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ 1
มกราคม โดยกำหนดให้วันที่ 1 มกราคม 2484
เป็น วันขึ้นปีใหม่เป็นต้นไป
เหตุผลที่ทางราชการได้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่จากวันที่
1 เมษายนมาเป็นวันที่ 1
มกราคม ก็คือ
1. ไม่ขัดกับพุทธศาสนาในด้านการนับวัน เดือน
และการร่วมฉลองปีใหม่ด้วยการทำบุญ
2. เป็นการเลิกวิธีนำเอาลัทธิพราหมณ์มาคร่อมพระพุทธศาสนา
3. ทำให้เข้าสู่ระดับสากลที่ใช้อยู่ในประเทศทั่วโลก
4. เป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรม คตินิยม
และจารีตประเพณีของชาติไทย
กิจกรรมที่ชาวไทยส่วนใหญ่มักจะยึดถือปฏิบัติในวันขึ้นปีใหม่ได้แก่
1. การทำบุญตักบาตร โดยอาจตักบาตรที่บ้าน
หรือไปที่วัดหรือตามสถานที่ต่างๆที่ทางราชการเชิญชวนไปร่วมทำบุญ
2. การกราบขอพรจากผู้ใหญ่ และอวยพรเพื่อนฝูง
การมอบของขวัญ การมอบช่อดอกไม้ หรือการส่งบัตรอวยพร
3. การจัดงานรื่นเริง การจัดเลี้ยงในหมู่เพื่อนฝูง
ญาติพี่น้องหรือตามหน่วยงานต่างๆ
วันขึ้นปีใหม่นับเป็นโอกาสดีที่จะทำให้เราได้ทบทวนถึงการดำเนินชีวิตในอดีต
เพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในอดีตให้ดีขึ้น
กิจกรรมใน วันขึ้นปีใหม่
วันที่ 1
มกราคม ของทุกปี จะมีการทำบุญตักบาตรและอุทิศส่วนกุศลผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ฟังเทศน์
ปล่อยปลา ปล่อยนก อวยพรซึ่งกันและกัน หรืออาจจะส่งการ์ดบัตรอวยพร
ของขัวญไหว้ผู้ใหญ่เพื่อรับพร และสรงน้ำพระพุทธรูป ประดับธงชาติ
และจะเตรียมทำความสะอาดบ้าน และที่พักอาศัย
เพลงวันปีใหม่ (เพลงพรปีใหม่
เพลงพระราชนิพนธ์ในหลวง)
ทำนอง: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช
คำร้อง: พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
สวัสดีวันปีใหม่พา ให้บรรดาเราท่านรื่นรมย์
ฤกษ์ยามดีเปรมปรีดิ์ชื่นชม ต่างสุขสมนิยมยินดี
ข้าวิงวอนขอพรจากฟ้า ให้บรรดาปวงท่านสุขศรี
โปรดประทานพรโดยปรานี ให้ชาวไทยล้วนมีโชคชัย
ให้บรรดาปวงท่านสุขสันต์
ทุกวันทุกคืนชื่นชมให้สมฤทัย
ให้รุ่งเรืองในวันปีใหม่ ผองชาวไทยจงสวัสดี
ตลอดปีจงมีสุขใจ ตลอดไปนับแต่บัดนี้
ให้สิ้นทุกข์สุขเกษมเปรมปรีดิ์
สวัสดีวันปีใหม่เทอญ
เกี่ยวกับ เพลงพรปีใหม่
เพลงพระราชนิพนธ์ พรปีใหม่
เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 13 ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นในเดือนธันวาคม
พ.ศ. 2494 เมื่อเสด็จนิวัตพระนคร และประทับ ณ
พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต มีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทานพรปีใหม่
แก่บรรดาพสกนิกรไทยด้วยเพลง จึงทรงพระราชนิพนธ์เพลง "พรปีใหม่"
และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
นิพนธ์คำร้องเป็นคำอำนวยพรปีใหม่ แล้วพระราชทานแก่วงดนตรี 2 วง
คือ วงดนตรีนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำออกบรรเลง ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
และวงดนตรีสุนทราภรณ์ นำออกบรรเลง ณ ศาลาเฉลิมไทย ในวันปีใหม่ วันอังคารที่ 1
มกราคม พ.ศ. 2495